ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ ระดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการ ดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

ภาคีเครือข่าย

การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาประเทศ

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

“...ประโยชน์อันพึงประสงค์ของการพัฒนานั้น ก็คือ ความผาสุกสงบ ความเจริญมั่นคงของประเทศชาติและประชาชน. แต่การที่จะพัฒนาให้เป็น บรรลุผล เป็นประโยชน์ดังกล่าวได้จำเป็นที่จะต้องพัฒนาฐานะความเป็นอยู่ ของประชาชนให้อยู่ดีกินดีเป็นเบื้องต้นก่อน เพราะฐานะความเป็นอยู่ของ ประชาชนนั้น คือรากฐานอย่างสำคัญของความสงบและความเจริญมั่นคง. ถ้าประชาชนทุกคนมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีแล้ว ความสงบและความเจริญย่อม จะเป็นผลก่อเกิดต่อตามมาอย่างแน่นอน. จึงอาจพูดได้ว่าการพัฒนาคือ การทำสงครามกับความยากจน เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนโดยตรง เมื่อใดก็ตาม ที่ประชาชนมีความอยู่ดีกินดีและประเทศชาติมีความสงบ มีความเจริญ เมื่อนั้นการพัฒนาจึงจะถือได้ว่าประสบความสำเร็จ...”

พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙

Sufficiency Economy...The Application to Leading a Life and Organization Development

Dr.Kasem Watanachai

“…morality is the center of love and unity. With morality, the Thai people will cooperate with each other in maintaining and developing the nation into prosperity. That is to say, firstly, the way we think, speak, and act must include good deeds and kindness. Secondly, people should assist and coordinate with each other so as to create success that benefits themselves, others, and the nation. Thirdly, people must behave with honesty, discipline, and equality. Fourthly, people should hold sensible opinions in a correct, impartial, and stable manner…”

The Royal Speech on the occasion of 60th year anniversary of His Majesty the King’s Accession to the Throne at Ananda Samakhom Throne Hall, 9 June 2006.

press release

ข่าวประชาสัมพันธ์

driving the sufficiency economy

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง

the sufficiency economy

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง 1

the sufficiency economy

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง 2

the sufficiency economy

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง 3

the sufficiency economy

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง4

Publish a document

เอกสารเผยแพร่

การนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

เรียนรู้หลักการทรงงาน

การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และน้อมนำไปใช้เป็นแนวทางพื้นฐานในการดำเนินชีวิต

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ประมวลพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร

เอกสารเผยแพร่ เพิ่มเติม

research & take lessons

งานวิจัย/ถอดบทเรียน

"การพัฒนาเชิงพื้นที่สู่ความยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กรณีความสำเร็จของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ"

ถอดบทเรียนการพัฒนาพื้นที่สู่ความยั่งยืน

การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาคธุรกิจเอกชน 7 องค์กรธุรกิจขนาดใหญ่และเครือข่าย

รายงานถอดบทเรียน

ประมวลพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร

PUBLISH A DOCUMENT

เอกสารเผยแพร่ เพิ่มเติม

research & take lessons

วิจัย & ถอดบทเรียน...เพิ่มเติม